‘Through Our Eyes: Windows into the Lives of Affected People from the Deep South’ Photography Exhibition

Event Details

‘Through Our Eyes: Windows into the Lives of Affected People  from the Deep South’ Photography Exhibition

Time: June 11, 2010 to June 26, 2010
Location: the Hall in front of The Art Center, Center of Academic Resources, Chulalongkorn University
City/Town: Bangkok
Website or Map: http://www.car.chula.ac.th/ar…
Event Type: photography, exhibition
Latest Activity: Jun 13, 2010

Export to Outlook or iCal (.ics)

Event Description



At the Hall in front of The Art Center, Center of Academic Resources, Chulalongkorn University
11-26 June 2010

Opening reception: Friday 11 June, 2010 at 5.30pm

In the last four years at least 3000 people have died, several thousands were injured and many more people have been socially and mentally affected by the violence in the Deep South. In newspapers and audio-visual media hardly any time and space is allocated to give these people visibility. Many victims have been reduced to mere numbers in reports. Most of the Thai population outside the three border provinces is not aware of the human or tragic dimension this conflict has caused in many lives so far. Some media reports might even contribute to misunderstanding or even incite hatred towards people living in the predominantly Muslim region.

This photo exhibition would like to tell a different story. It wants to show the human side of the conflict, it wants to share the hopes and life stories of the people that have been reduced to statistics in a bloody and seemingly endless conflict, and it wants to put faces where there is otherwise a nameless mass.

The conflict is centred in Thailand’s three Southern border provinces, Pattani, Yala and Narathiwat. This is a region where over 80% of the population adhere to the Islamic faith and speak the local Malay dialect known as Yawi. Independent sources report 10,609 violent incidents taking place between January 2004 and January 2010 resulting in at least 4100 deaths, 60% of which have been Muslims.

This collection of photos wants to take the audience on a journey to a place where there are no sides and where there is no real sentiment of “us versus them”. The photos have been taken by twenty five local women, children, and young people with the aim of inviting the eyes of the outside world into the daily lives of those who are affected by this conflict. While FES and its local partner organisation Friends of the Victimized Families Group provided the participants with digital cameras as well as a brief workshop on basic photography skills, the actual strength of this exhibition stems from the powerful personal messages the photographers conveyed in their photos.

This is their story, through their eyes.

Organized by
MA in International Development Studies (MAIDS), Faculty of Political Science, Chulalongkorn University
Friends of the Victimized Families Group
Friends of Women Foundation
Friedrich-Ebert-Stiftung
The Art Center, Center of Academic Resources, Chulalongkorn University

For more information, please contact:
Siriwat Pokrajen (PR Officer)
Tel: 081-629-0457, email: siriwatpokrajen@yahoo.com, info.artcenterchula@gmail.com

The Art Center
7th Fl, Center of Academic Resources, Chulalongkorn University
Phyathai Rd, Pathumwan, Bangkok 10330
Tel: 0-2218-2965, Fax: 0-2218-2907
Email: info.artcenterchula@gmail.com
www.car.chula.ac.th/art
www.facebook.com/pages/The-Art-Center-Chula/#!/pages/Bangkok-Thailand/The-Art-Center-Chula/242158381691?ref=ts
Monday-Friday 9am-7pm, Saturday 9am-4pm
Closed on Sunday & Public Holidays

Comment Wall

Comment

RSVP for ‘Through Our Eyes: Windows into the Lives of Affected People from the Deep South’ Photography Exhibition to add comments!

Join PORTFOLIOS*NET

Comment by PORTFOLIOS*NET on June 10, 2010 at 2:21am
หอศิลปวิทยนิทรรศน์
ชั้น 7 ศูนย์วิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพ 10330
โทรศัพท์: 0-2218-2965 โทรสาร: 0-2218-2907 อี เมล์: info.artcenterchula@gmail.com
ข่าวประชาสัมพันธ์7 มิถุนายน 2553



นิทรรศการภาพถ่าย “เบื้องหลังชีวิต”
ณ โถงหน้าหอศิลปวิทยนิทรรศน์ ศูนย์วิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
11-26 มิถุนายน 2553
พิธีเปิดนิทรรศการ วันศุกร์ที่ 11 มิถุนายน 2553 เวลา 17.30 น.

ในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 3,000 คน หลายพันคนได้รับบาดเจ็บ และได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ การนำเสนอข่าวในหนังสือพิมพ์และสื่ออื่น ๆ ไม่มีพื้นที่ข่าวเกี่ยวกับวิถีชีวิตของผู้ที่ได้รับผลกระทบเหล่านี้ หากแต่เสนอเป็นเพียงสถิติตัวเลขผู้ได้รับบาดเจ็บ คนส่วนใหญ่ภายนอกพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ไม่ค่อยตระหนักถึงมิติของความเป็นมนุษย์ท่ามกลางความขัดแย้งที่เกิดขึ้น สื่อบางสื่ออาจจะถึงกับส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจผิด หรือความเกลียดชังต่อผู้คนที่อยู่ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
นิทรรศการรูปภาพนี้ต้องการบอกกล่าวเรื่องราวที่แตกต่างออกไป โดยนำเสนอมิติของความเป็นมนุษย์ท่ามกลางความขัดแย้ง และต้องการแบ่งปันความหวังและเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตของผู้คนเหล่านี้ ซึ่งได้ถูกนำเสนอเป็นแค่เพียงสถิติในสิ่อต่าง ๆ และนิทรรศการนี้ต้องการแสดงให้เห็นตัวตนของพวกเขา ซึ่งไม่เป็นที่รู้จัก

ความขัดแย้งนี้มีศูนย์กลางอยู่ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ภูมิภาคนี้มีประชากรมากกว่าร้อยละ 80 นับถือศาสนาอิสลามและพูดภาษามาลายูท้องถิ่นที่เรียกกันว่าภาษายาวี แหล่งข้อมูลอิสระรายงานว่า มีผู้ได้รับบาดเจ็บจากความรุนแรงถึง 10,609 ราย นับตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2547 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2553 โดยมีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 4,100 คน ซึ่งเป็นคนมุสลิมมากกว่า 60 เปอร์เซ็นต์
การรวบรวมภาพถ่ายเหล่านี้เพื่อต้องการให้ผู้เข้าชมได้เดินทางไปในสถานที่ที่ปราศจากการแบ่งแยกฝักฝ่าย และอคติที่ขีดแบ่ง “พวกเขา” ออกจาก “พวกเรา” ภาพถ่ายเหล่านี้ถ่ายโดยผู้หญิงและเยาวชนท้องถิ่นทั้งสิ้น 25 คน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนภายนอกได้เข้าใจชีวิตประจำวันของผู้ที่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้ง
มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ทและกลุ่มเพื่อนครอบครัวผู้สูญเสียได้มอบกล้องถ่ายภาพแบบดิจิตัลให้กับผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อใช้บันทึกภาพ จุดเด่นของนิทรรศการเกิดจากสาระสำคัญที่ผู้ถ่ายภาพต้องการถ่ายทอดออกมาทางรูปถ่ายของพวกเขา นี่เป็นเรื่องราวที่ถ่ายทอดผ่านสายตาของพวกเขา
จัดโดยหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่มเพื่อนครอบครัวผู้สูญเสียมูลนิธิเพื่อนหญิง
มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ทหอศิลปวิทยนิทรรศน์ ศูนย์วิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อสิริวัฒน์ โพธิ์กระเจน (เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์)โทร. 081-629-0457 อีเมล์: siriwatpokrajen@yahoo.com, info.artcenterchula@gmail.com


หอศิลปวิทยนิทรรศน์ชั้น 7 ศูนย์วิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพ 10330
โทรศัพท์: 0-2218-2965 โทรสาร: 0-2218-2907
อีเมล์: info.artcenterchula@gmail.com
www.car.chula.ac.th/art
www.facebook.com/pages/The-Art-Center-Chula/#!/pages/Bangkok-Thailand/The-Art-Center-Chula/242158381691?ref=ts
เปิดทำการ จันทร์-ศุกร์: 9.00-19.00 น. เสาร์: 9.00-16.00 น.ปิดวันอาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์

Attending (2)

© 2009-2024   PORTFOLIOS*NET by CreativeMOVE.   Powered by

Badges  |  Report an Issue  |  Terms of Service